วันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

การเข้าเรียน ครั้งที่ 16
วันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

วิชา  การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ


**หมายเหตุ**
    
วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาเคลียงานที่ค้างอยู่ให้เรียบร้อย พร้อมส่งงานวิจัยของแต่ละคน และอาจารย์ได้ให้ข้อสอบกลับไปทำ โดยนัดส่งในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2557
การเข้าเรียน ครั้งที่ 15
วันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

วิชา  การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ

เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้

สาเหตุของปัญหาการเรียน
     สติปัญญาบกพร่อง หรือปัญญาอ่อน (Mental Retardation)
     วิตกกังวล หรือซึมเศร้า (Anxiety or Depression)
     สมาธิสั้น (Attention Deficit Hyperactivity Disorder ADHD)
     ภาวะการเรียนบกพร่อง (Learning Disorder –LD)
     เจ็บป่วยเรื้อรัง (Chronic Illness)
     ขาดโอกาสทางการศึกษา
     ขาดแรงจูงใจ (Lack of Motivation)
     วิธีการสอนไม่เหมาะสม

หลักการทั่วไปในการช่วยเหลือเด็ก LD
    สอนจากสิ่งที่ง่ายที่สุด
    สอนจากสิ่งที่เด็กคุ้นเคยไปหาสิ่งที่เด็กไม่คุ้นเคย
    ให้โอกาสเด็กเลือกเรียน
    ให้เด็กมีความสุขในการเรียน
    ใช้ประสบการณ์ตรง
    ให้เด็กเรียนรู้ตามขีดความสามารถของตน
    ใช้แรงเสริมอย่างมีประสิทธิภาพ
    กระตุ้นให้เด็กใช้ความคิด
    ให้เด็กเรียนจากเพื่อน
    แจ้งผลการเรียนให้เด็กทราบโดยเร็ว
    ทบทวนบทเรียนบ่อยๆ
    สอนโดยการเน้นย้ำเชื่อมโยงกับวิชาอื่นด้วย
    จัดห้องเรียนให้เอื้อต่อการเรียน
    ใช้คำสั่งที่สั้นและเข้าใจง่าย
    มองหาจุดเด่น-จุดด้อยของเด็ก

การเข้าเรียน ครั้งที่ 14
วันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

วิชา  การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ


วันนี้เรียนเรื่อง เด็กดาวน์ซินโดรม

แนวทางการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ          
        
       จุดมุ่งหมายของการดูแลกลุ่มอาการดาวน์ เพื่อรักษาตามอาการหรือแก้ไขความผิดปกติที่พบร่วมด้วย  เพื่อให้เด็กเหล่านี้สามารถช่วยเหลือตนเองได้ในชีวิตประจำวัน และใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้ใกล้เคียงกับคนปกติมากที่สุด  การดูแลรักษาเน้นการดูแลแบบองค์รวม (holistic approach) โดยทีมสหวิชาชีพ

1. ด้านสุขภาพอนามัย เนื่องจากอาจมีความผิดปกติหลายอย่างที่พบร่วมด้วยได้ในกลุ่มอาการดาวน์ รวมทั้งมีโอกาสเจ็บป่วยได้ง่ายและบ่อยกว่าเด็กทั่วไป จึงควรแนะนำบิดามารดาให้พาบุตรไปพบแพทย์ตั้งแต่เริ่มแรก  และติดตามการรักษาเป็นระยะๆ

2. การส่งเสริมพัฒนาการ 
เด็กกลุ่มอาการดาวน์สามารถพัฒนาได้ถ้าได้รับการฝึกสอนที่เหมาะสม จึงควรแนะนำบิดามารดาเรื่องความสำคัญของการส่งเสริมพัฒนาการ

3. การดำรงชีวิตประจำวัน 
ควรฝึกให้ช่วยเหลือตนเองได้มากที่สุด  เพื่อให้สามารถไปเรียนและใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้ รู้จักควบคุมตนเอง

4. การฟื้นฟูสมรรถภาพ ได้แก่
        - การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ เช่น การฝึกพูด กายภาพบำบัด กิจกรรมบำบัด
        - การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษาโดยจัดทำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
        - การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม เช่น การฝึกทักษะการดำรงชีวิตประจำวัน 
        - การฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพโดยการฝึกอาชีพ



การเข้าเรียน ครั้งที่ 13
วันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2556

วิชา  การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ




**สอบกลางภาคในคาบเรียน**
การเข้าเรียน ครั้งที่ 12
วันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2556

วิชา  การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ

อาจารย์ให้นำเสนองานอีก 2 กลุ่มที่เหลือ ดังนี้

กลุ่มที่ 4 ออทิสติก (Autistic)




กลุ่มที่ 5 ดาวน์ซินโดรม (Down Syndrome)





การเข้าเรียน ครั้งที่ 11
วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2556

วิชา  การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ




**ไม่มีการเรียนการสอน  เนื่องจากสถานการณ์บ้านเมือง
หมายเหตุ ต้องหาเวลาชดเชย 1 วัน**
การเข้าเรียน ครั้งที่ 10
วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2556

วิชา  การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ

 วันนี้มีการนำเสนองานกลุ่มในเรื่องประเภทของเด็กพิเศษทั้ง 5 กลุ่ม ที่ได้จับฉลากได้ ซึ่งในวันนี้ได้มีการนำเสนอด้วยกันทั้ง 3 กลุ่ม คือ

กลุ่มที่ 1 สมองพิการ (Cerebral Palsy : C.P.)




กลุ่มที่ 2 เด็กที่มีปัญหาด้านการเรียนรู้ (Learning Disabilities: L.D.)





กลุ่มที่ 3 เด็กสมาธิสั้น (Attention Deficit Hyperacivity Disorders : ADHD)





ส่วน 2 กลุ่มที่เหลือ นำเสนอในสัปดาห์ต่อไป